วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

ประสบการณ์ผู้ใช้ปุ๋ยของบริษัท วินเนอร์ ไวล์ เวิร์ล จำกัด





          




อาการของพืชที่ขายธาตุโปแตสเซียม
      1. ขอบใบเหลือง และกลายเป็นสีน้ำตาล โดยเริ่มต้นจากปลายใบเข้าส่งกลางใบ ส่วนที่เป็นสีน้ำตาลจะแห้งเหี่ยวไป จะเกิดจากใบล่างก่อน แล้วจึงค่อย ๆ ลามขึ้นข้างบน พืชที่เห็นชัดคือข้าวโพด
      2. ทำให้ผลผลิตตกต่ำ พืชจำพวกธัญพืชจะทำให้เมล็ดลีบ มีน้ำหนักเบา พืชหัวจะมีแป้งน้อยและน้ำมาก ข้าวโพดจะมีเมล็ดไม่เต็มฝัก ฝักจะเล็กมีรูปร่างผิดปกติ ใบยาสูบมีคุณภาพต่ำ ติดไฟยาก กลิ่นไม่ดี พืชจำพวกฝ้ายใบจะมีสำน้ำตาลปนแดง สมอฝ้ายที่เกิดขึ้นจะไม่อ้าเต็มที่เมื่อแก่

ธาตุอาหารรอง 3 ธาตุ
1. ธาตุแคลเซียม (Ca)เป็นธาตุที่ต้นพืชนำไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตในตัวพืช ช่วยส่งเสริมการนำธาตุไนโตรเจนจากดินมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากขึ้น ในระยะออกดอกและระยะที่สร้างเมล็ดพืชจะมีความจำเป็นมาก เพราะธาตุแคลเซียมจะมีส่วนในการเคลื่อนย้ายและเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในพืช เพื่อนำไปใช้ในการสร้างผลและเมล็ดต่อไป
          
อาการของพืชที่ขาดแคลเซียมจะพบมากในบริเวณยอด และปลายราก ยอดอ่อนจะแห้งตาย และใบจะมีการการม้วนงอไปข้างหน้าและขาดเป็นริ้ว ๆ ซึ่งจะเกิดที่ใบอ่อนก่อน แก้ไขโดยการใส่ปูนขาว หินปูนบด หินปูนเผา เพื่อปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างของดิน หรือการใส่ปุ๋ยคอกบำรุงดิน
2. ธาตุแมกนีเซียม (Mg) เป็นองค์ประกอบของส่วนที่เป็นสีเขียว ทั้งที่ใบและส่วนอื่น ๆ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างอาหารและโปรตีนพืช
          
อาการขาดแมกนีเซียมจะสั่งเกตได้จาบใบพืช ที่เหลืองซีดบริเวณเส้นกลางใบที่อยู่ใกล้กับผล ถ้าหากอาการขาดรุนแรงใบแก่จะมีอาการมากกว่าใบอ่อน
          
การขาดธาตุแมกนีเซียม จะทำให้ผลผลิตลดน้อยลงและต้นพืชทรุดโทรมอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสาเหตุที่พืชขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น เพราะปริมาณแมกนีเซียมที่อยู่ในดินถูกชะล้างลึกลงไปเกินกว่าที่รากพืชจะดึงดูดมาใช้ได้ และการที่มีปริมาณโปแตสเซียมสะสมในดินมากเกินไปก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่สำคัญ
          
การแก้ไข สามารถทำได้โดยการปรับปรุงสภาพดิน ความเป็นกรด ด่างของดินให้เหมาะสมต่อการดูดเข้าไปใช้ของพืช และมีการใช้ปุ๋ยโปแตสเซียมที่พอเหมาะ ที่สำคัญก็คือ การฉีดพ่นทางใบด้วยธาตุอาหารเสริม ซึ่งมีธาตุแมกนีเซียมในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ได้ทันที
3. ธาตุกำมะถัน (S) กำมะถันมีความจำเป็นต่อการสร้างโปรตีนพืช เป็นองค์ประกอบของวิตามินบางตัวที่มีผลทางอ้อมต่อการสร้างสีเขียวของพืช ซึ่งจะช่วยให้เกิดการหายใจและการปรุงอาหารพืช
          
พืชที่ขาดกำมะถันจะมีเสียเขียวอ่อน หรือเหลืองคล้าย ๆ อาการขาดไนโตรเจน ใบขนาดเล็กลง ยอดของพืชจะชะงักการเจริญเติบโต ลำต้นและกิ่งก้านลีบเล็ก อาการขาดธาตุกำมะถันจะมีอาการแตกต่างจากขาดธาตุไนโตรเจน คือจะปรากฏที่ยอดอ่อนก่อน ส่วนใบล่างยังคงปกติ ถ้าอาการรุนแรงใบล่างก็จะมีอาการด้วยเช่นกัน ซึ่งจะตรงข้ามกับอาการของการขาดไนโตรเจน จะแสดงอาการที่ใบล่างก่อน
          
ดินที่มักพบเสมอว่าขาดธาตุกำมะถันคือ ดินทราย ซึ่งมีอินทรีย์วัตถุน้อย การเพิ่มกำมะถันในดิน นอกจากจะมีการใส่กำมะถันผงโดยตรงแล้ว การใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยพืชสด ก็เป็นวิธีการแก้ปัญหาการขาดธาตุกำมะถันในดินได้เช่นกัน
          
แต่ข้อควรระวังในการใส่กำมะถันก็คืน หากใส่มากเกินความจำเป็นจะทำให้ดินเป็นกรดได้

ธาตุอาหารเสริม หรือจุลธาตุ 7 ธาตุ
1. ธาตุโบรอน (B) มีบทบาทเกี่ยวข้องต่อการดูดดึงธาตุอาหารพืช ช่วยให้พืชดูดเอาธาตุแคลเซียมและไนโตรเจนไปใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้พืชใช้ธาตุโปแตสเซียมได้มากขึ้น มีบทบาทในการสังเคราะห์แสง การย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และเพิ่มคุณภาพทั้งรสชาติ ขนาด และน้ำหนักของผล เพิ่มความสามารถในการเจริญเติบโต เพราะโบรอนจะควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในขบวนการปรุงอาหารอีกทางหนึ่ง
          
หากขาดธาตุโบรอน ส่วนที่จะแสดงอาการเริ่มแรกคืนยอดและใบอ่อน ส่วนที่ยอดและตายอดจะบิดงอ ใบอ่อนบางและโปร่งใสผิดปกติ เส้นกลางใบหนากร้าน และตกกระ มีสารเหนียว ๆ ออกมาตามเปลือกของลำต้น กิ่งก้านจะแลดูเหี่ยว ผลเล็กและแข็งผิดปกติ มีเปลือกหน้า บางทีผลแตกเป็นแผลได้
          
อาการขาดธาตุนี้จะเห็นเด่นชัดเมื่อต้นพืชกระทบแล้งหรือขาดน้ำมาก ๆ ควรทำการปรับปรุงดินอย่าให้เป็นกรด-ด่างมาก และควรฉีดพ่นอาหารเสริมทางใบที่มีองค์ประกอบของโบรอนด้วย
2. ธาตุสังกะสี (Zn) สังกะสีมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนพืช กล่าวคือ พืชที่ขาดธาตุสังกะสีจะให้ปริ มาณฮอร์โมน IAA ในตายอดลดลง ทำให้ตายอดและข้อปล้องไม่ขยาย ใบออกมาซ้อน ๆ กัน นอกจากนี้ยังมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับน้ำย่อยของพืชหลายชนิดในการสร้างอาหารและสังเคราะห์แสง จึงมีผลทางอ้อมในการสร้างส่วนสีเขียวของพืช
          
การแก้ไขที่และและให้ผลแน่นอนคือการฉีดพ่นทางใบ ด้วยธาตุอาหารเสริมที่มีธาตุสังกะสีเป็นองค์ประกอบ
3. ธาตุเหล็ก (Fe) ธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบของโปรตีน และมีบทบาทสำคัญในการปรุงอาหารของพืช ช่วยกระตุ้นให้การหายใจและการปรุงอาหารของพืชเป็นไปอย่างสมบูรณ์
          
อาการขาดธาตุเหล็กจะแสดงออกทั้งทางใบและทางผล อาการเริ่มแรกจะสังเกตพบว่าใบอ่อนบริเวณเส้นใบยังคงมีคามเขียว แต่พื้นใบจะเริ่มเหลืองซีด ส่วนใบแก่ยังคงมีอาการปกติ ระยะต่อมาจะเหลืองซีดทั้งใบ ขนาดใบจะเล็กลงกว่าปกติและจะร่วงไปก่อนใบแก่เต็มที่ กิ่งแห้งตาย ส่วนอาการที่เกิดขึ้นกับผลผลิตคือผลผลิตจะลดลง ขนาดของผลเล็กและผิวไม่สวย ผิวเรียบและเกรียม การขาดธาตุเหล็กยังมีผลต่อการนเจริญของยอดอ่อนด้วย
          การแก้ไข ตามปกติช่วงความเป็นกรด-ด่างของดินที่พืชสามารถนำธาตุเหล็กไปใช้ได้คือ ค่า pH ระหว่าง 5.5-5.6 แต่ถ้าค่า pH ต่ำกว่านี้ จะทำให้ปริมาณของธาตุเหล็กมีมากเกินไปจนก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อพืชได้ ธาตุเหล็กจะไปตรึงธาตุฟอสฟอรัสไว้จนพืชไม่สามารถนำไปใช้ได้ การแก้ไขด้วยการฉีดพ่นธาตุอาหารเสริมทางใบ เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาการขาดธาตุเหล็กได้
4. ธาตุทองแดง (Cu) หน้าที่ของธาตุทองแดง มีผลต่อพืชโดยอ้อม ในการสร้างส่วนที่เป็นสีเขียวของพืช ช่วยเพิ่มโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ และป้องกันการถูกทำลายส่วนสีเขียว นอกจากนี้ยังเป็นส่วนประกอบของน้ำย่อยในพืช ซึ่งมี ผลต่อการปรุงอาหารยังผลต่อการเจริญเติบโตและการติดดอกออกผล
          
ธาตุทองแดงยังช่วยให้ต้นพืชสามารถดูดเอาธาตุเหล็กที่อยู่ในดินนำมาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น อาการของพืชที่ขาดธาตุทองแดงใบพืชจะมีสีเขียวจัดผิดปกติ แล้วต่อมาจะค่อย ๆ เหลืองลง ๆ โดยแสดงอาการจะยอดลงมาถึงโคน อาการขาดธาตุทองแดงพบมากในเขตดินเปรี้ยว การใช้ปุ๋ยฟอสเฟตอาจช่วยได้ หรือฉีดพ่นด้วยธาตุอาหารเสริม (ที่มีทองแดงประกอบ) ทางใบ
5. ธาตุแมงกานีส (Mn) ธาตุนี้มีผลกระทบต่อใบ เนื่องจากมีบทบาทในการสั่งเคราะห์แสง เป็นตัวกระตุ้นการ ทำงานของน้ำย่อยในต้นพืช และยังควบคุมกิจกรรมของธาตุเหล็กและไนโตรเจนในต้นพืชอีกด้วย
          
พืชที่ขาดธาตุแมงกานีสใบจะออกสีเหลือง ๆ ส่วนเส้นใบจะเขียวอยู่ปกติ โดยเฉพาะใบอ่อนอาจเกิดเป็นจุดขาว ๆ หรือจุดเหลืองที่ใบ ต้นโตช้า ใบไม่สมบูรณ์ พุ่มต้นโปร่ง
          
พืชที่แสดงอาการขาดธาตุแมงกานีส ต้องฉีดพ่นเข้าทางใบด้วยธาตุอาหารเสริมที่มีองค์ประกอบของธาตุแมงกานีส
6. ธาตุโมลิบดินัม (Mo) บทบาทและหน้าที่ของธาตุโมลิบดินัมในพืชนั้น ทำให้การทำงานของธาตุไนโตรเจนในพืชสมบูรณ์ขึ้น นอกจากนี้ ยังจำเป็นสำหรับขบวนการสร้างสารสีเขียวและน้ำย่อยภายในพืชบางชนิดด้วย
          
พืชที่ขาดธาตุนี้ ที่ใบแจะเป็นจุดด่างเป็นด้วย ๆ ในขนะที่เส้นใบยังเขียวอยู่ ถ้าขาดธาตุนี้รุนแรง ใบจะม้วยเข้าข้างใน ลักษณะที่ปลายและขอบใบจะแห้ง ดอกร่วง และผลเคระแกรนไม่เติบโตเต็มที่
7. ธาตุคลอรีน (Cl) คอลรีนมีความสำคัญต่อขบวนการสังเคราะห์แสง มีผลทำให้พืชแก่เร็วขึ้น พืชที่ขาดธาตุคลอรีนใบจะซีด เหี่ยว และใบสีเหลืองบรอนซ์ ถ้ามีคลอรีนมากจำทำให้ของใบแห้ง ใบจะเหลืองก่อนกำหนด

     การเปรียบเทียบธาตุอาหาร
      การผลิตปุ๋ยหมักใช้เองโดยให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่จะใช้งานจำเป็นต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่พืชแต่ละชนิด การผลิตปุ๋ยจะต้องให้ตรงกับความต้องการของต้นพืช ในแต่ละช่วงระยะ เช่น ช่วงการเจริญเติบโต ระยะเวลา การออกดอก ระยะเวลาการผลิตผล และการรักษา บำรุง ซ่อมแซม ส่วนที่สึกหรอของต้นพืช ให้มีความเจริยงอกงาม ตามระยะเวลาที่เมาะสม การเพิ่มสารอาหารแก่ต้นพืช ต้องศึกษาว่าช่วงใดต้นพืชต้องการ ไนโตรเจน(N) สูงระยะเวลาใดต้องการ หรือไม่ต้องการ ฟอสฟอรัส (P) และโปตัสเซี่ยม (K) การให้ปุ๋ยที่ตรงกับความต้องการของพืชจะต้องศึกษาว่าการผลิตปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพควรจะใช้ มูลสัตว์ชนิดใด ที่มีคุณสมบัติตรงกับความต้องการของพืชในระยะเวลาหนึ่งๆ เนื่องจากค่าไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโปตัสเซี่ยม(K) ในมูลสัตว์แต่ละชนิดมีค่าแตกต่างกัน การผลิตปุ๋ยหมักจึงต้องคำนึงถึงการนำมูลสัตว์และปริมาณการใช้ที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนการเลือกมูลสัตว์ที่จะนำไปใช้ในการผลิต ปุ๋ยหมัก จะต้องให้มีความชื้นน้อยที่สุด จะทำให้ค่าของมูลสัตว์ไม่เปลี่ยนแปลงในการคำนวณปริมาณการนำไปใช้

                     อัตราส่วนธาตุอาหารของมูลสัตว์ ที่ได้ศึกษาหาค่าเป็นร้อยละของ ความเป็นปุ๋ย วัดค่าได้ตามตารางต่อไปนี้

มูลสัตว์
ค่า N
ค่า P
ค่า K
รวม
(%)
(%)
(%)
(%)
มูลวัว
1.1
0.4
1.6
3.1
มูลหมู
1.3
2.4
1.0
4.7
มูลไก่ (ไข่)
2.7
6.3
2.0
11.0
มูลค้างคาว
3.1
12.2
0.6
15.9
               
               จากตารางดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ค่าของปุ๋ยในมูลสัตว์แต่ละชนิด ให้ค่าเป็นปุ๋ยแก่พืชไม่เท่ากัน การทำปุ๋ยหมักให้มีคุณภาพและได้ผลดีแก่พืชแต่ละชนิด ให้ผลไม่เท่ากันด้วย การทำปุ๋ยหมักผู้ผลิตจะใช้มูลสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่ง อาจจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร จึงต้องศึกษาว่าปุ๋ยหมักที่จะผลิตนั้น เพื่อจะนำไปเสริมสร้างส่วนใดของต้นพืช ดังนั้นการผลิตปุ๋ยหมักเพื่อนำไปใช้ให้ตรงกับความต้องการ ควรปฏิบัติดังนี้
                1. การทำปุ๋ยหมักเพื่อบำรุงลำต้น และใบ เพื่อใช้กับแปลงผักประเภทรับประทานใบ และลำต้น หรือพืชยืนต้นระยะเริ่มแรกที่ยังไม่ถึงระยะเวลาให้ผล การทำปุ๋ยหมักให้ใช้มูลสัตว์รวมหลายๆชนิด เพื่อเสริมสร้างส่วนต่างๆของพืชให้ครบถ้วน
                2. การทำปุ๋ยหมักเพื่อเร่งดอก และให้มีผลดก การทำปุ๋ยหมักควรใช้ มูลไก่ (ไข่และมูลค้างคาว เนื่องจากมูลสัตว์ 2 ชนิดนี้ ทีค่าฟอสฟอรัส (P) สูง หากผู้ผลิตไม่มีมูลค้างคาว เนื่องจากจะหายากในบางพื้นที่ ก็ให้ใช้มูลไก่ (ไข่ชนิดเดียว แต่เพิ่มปริมาณ เป็น 2 เท่า จะทำให้พืชเร่งออกดอก และมีผลดกมาก
                3. การทำปุ๋ยหมักเพื่อบำรุงให้ผลโตและความสมบูรณ์ มีรสชาติหวาน กรอบ อร่อย การทำปุ๋ยหมัก สูตรนี้ให้ใช้มูลวัวและมูลไก่ (ไข่เนื่องจากมูลสัตว์ 2 ชนิดนี้ มีธาตุอาหารประเภทโปรตัสเซี่ยม (K)  มากกว่ามูลสัตว์ประเภทอื่นๆ

เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยหมักกับปุ๋ยเคมี
        ในการทำการเกษตร ผู้ผลิตโดยทั่วไปมีความเชื่อว่า การใช้ปุ๋ยเคมีใส่ต้นพืช จะทำให้ต้นพืชมีความเจริญเติบโตงอกงามได้รวดเร็วแน่นอน และใช้ปริมาณน้อย ขาดความเชื่อมั่นในการใช้ปุ๋ยหมัก ซึ่งคิดว่า       ต้องใช้ปริมาณมาก การทำยุ่งยาก และให้ผลต่อต้านพืชช้า จึงไม่นิยมใช้ปุ๋ยหมักในการปลูกพืช ระยะต่อมา ผลิตภัณฑ์จากพืชผลการเกษตรมีปัญหาด้านการตลาดราคาตกต่ำ ต้นทุนการผลิตสูงประสบปัญหาการขาดทุน แต่ไม่มีทางเลือก เกษตรกรยิ่งผลิตมาก ยิ่งขาดทุนมาก เกิด  ปัญหาหนี้สิน ที่ไม่สามารถชำระเงินคืนแก่สถาบันการเงินได้ เป็น ปัญหา ระดับชาติที่รัฐบาลทุกสมัยจะต้องเข้ามาช่วยแก้ปัญหาอยู่อย่าง ต่อเนื่อง      อีกประเด็นหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือ ผลจากการทำเกษตรก้าวหน้านอกจาก จะทำให้ ดินเสียแล้ว ต้องใช้สารเคมีปราบแมลงและศัตรูติดต่อมาเป็น   เวลานานสารตกค้างในดินที่โดนน้ำชะล้างลงแม่น้ำลำคลอง เป็นเหตุให้เกิดสิ่งแวดล้อมเป็นพิษแก่พืช สัตว์ และมนุษย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ เกษตรกรได้รับสารพิษจากสารเคมี ซึ่งใช้ฉีดพ่นในแปลงพืชเป็นระยะเวลาติดต่อกันนานๆ เป็นผลให้ร่างกายสะสมสารพิษไว้มาก เกิดอาการเจ็บป่วย เป็นโรคร้ายแรงถึงขั้นพิการและเสียชีวิต ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เป็นภาระแก่ครอบครัวที่อาจจะต้องสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินเงินทอง นอกจากนั้นผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่มีสารพิษตกค้าง เมื่อสะสมเป็นระยะเวลานาน ทำให้ต้องเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรอีกด้านหนึ่งด้วย จากผลกระทบดังกล่าวยังตกเป็นภาระของทางรัฐบาลที่ต้องทุ่มงบประมาณด้านสาธารณะสุข เพิ่มขึ้นปีละมากๆตามไปด้วย

                การผลิตพืชผัก  เกษตรกรเครือข่ายการผลิตผัก โครงการพัฒนาเกษตรยั่งยืน ในพื้นที่ จังหวัดสิงห์บุรี ใช้ไม่พบ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ ในการผลิตผักรายละ 1 ไร่ ดังข้อมูลการผลิตในปี 2543 โดยปฏิบัติดังนี้
                1. ไถดะและไถแปรอย่างละครั้ง แล้วตากดินไว้อย่างน้อย 7 วัน
                2. ชักร่อง ย่อยดิน ใส่ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ อัตราประมาณ 2 กิโลกรัม/ตาราเมตร ถ้าเป็นดินทราย ใส่ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ อัตราประมาณ 4 กิโลกรัม/ตารางเมตร หากดินร่วน ใส่ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ อัตราประมาณ 1.5 กิโลกรัม/ตารางเมตร คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน รดน้ำให้ชื้นแล้วใช้น้ำชีวภาพและกากน้ำตาลอย่างละ 5 ลิตรผสมกับน้ำ 1,000 ลิตร ฉีดพ่นในพื้นที่ 1 ไร่
                3.ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในอัตราเดียวกับข้อ 2 ซ้ำอีกครั้งในตอนเช้าหรือเย็นของวันถัดไป คลุมฟางหรือคลุมพลาสติก ให้ดินมีความชื้น นานประมาณ 7วัน
                4. ผักกินใบและกินผล ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพสูตร1 สูตรถั่วเหลือง สูตรนมสด สูตรใดสูตรหนึ่ง อัตรา 30-50 CC/น้ำ 20 ลิตร หลังเมล็ดงอกหรือย้ายกล้าประมาณ 7 วัน ในผักกินใบ ระยะออกดอกและติดผล ฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ สูตร 3 สูตร 4 สูตรนมสด สูตรถั่วเหลือง สูตรใดสูตรหนึ่ง อัตรา 30-50 CC/น้ำ 20 ลิตร ทุก 5-7 วัน กรณีมีโรคที่เกิดจากเชื้อราหรือแมลงศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพสมุนไพรป้องกันกำจัดเชื้อราหรือปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพสมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชผสมรวมไปด้วย โดยใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพผสมรวมทั้งหมดในอัตรา 30-50 CC/น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นหรือให้พร้อมกับน้ำระบบสปริงเกอร์ ทุก 5-7 วัน
                5. ผักกินใบ โรยแต่งหน้าให้ทั่งแปลงด้วยปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ ทุก 15 วัน หลังเมล็ดงอกหรือย้ายกล้า อัตราประมาณ 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร ส่วนผักกินผล ใช้ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพโรยบริเวณโคนต้นในระยะติดผลและหลังเก็บผลผลิตอัตรา 50-100 กรัม/ต้น
...........................................................................................

แหล่งที่มา : สำนักสำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน   กรมพัฒนาที่ดิน   กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประสบการณ์ผู้ใช้ปุ๋ยวินโกลด์

ราคาปกติ
16,200
บาท/ตัน
ราคาสมาชิก
13,200
บาท/ตัน
คะแนน
100
PV





ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ วินโกลด์ (WIN GOLD)
100 PV
ราคาขาย : 16,200 บาท/ตัน
ราคาสมาชิก : 13,200 บาท/ตัน

ทำไมต้องใช้ปุ๋ยวินโกลด์? เพราะเป็นทางเลือกใหม่ของเกษตรกรที่ดีที่สุด


1. ปุ๋ยวินโกลด์ คือ ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพ








ส่วนประกอบ : ซากพืชหมัก 60% มูลสัตว์หมัก 20% แร่ซิลิคอน 20%

ประสิทธิภาพ : หลังการใช้ทำให้คืนความสมบูรณ์สู่แผ่นดิน จากผลวิเคราะห์ทำให้เพิ่มธาตุ อาหาร อินทรีย์วัตถุและจุลินทรีย์ในดิน ทำให้ดินร่วนซุย อุ้มธาตุอาหารได้ดี ช่วยให้พืชแข็งแรง ผลสมบูรณ์ คงความสดไว้ได้นาน ผลผลิตสูง คุณภาพดี กำไรงาม เป็นที่ต้องการของตลาดโลก



คุณสมบัติเด่นของปุ๋ยวินโกลด์



1. มีธาตุอาหารครบถ้วนสำหรับพืช (อาหารหลัก - อาหารรอง - อาหารเสริม)

2. มีอินทรียวัตถุ (Organicmetter) ตามมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ มีหน้าที่สำคัญ คือ ช่วยปรับโครงสร้างให้ดินปลดปล่อยธาตุอาหารได้มากขึ้น

3. มีฮอร์โมน (Humic Acid) ช่วยกระตุ้นการแตกตัวในทุกระยะของพืช



วิธีใช้

- สามารถใช้ได้กับพืชทุกชนิด ดินทุกประเภท (ดูวิธีการใช้ด้านหลังกระสอบ)

- กรณีต้องการเร่งการเจริญเติบโตของพืช ให้ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีได้ตามสภาพของดิน (หรือปุ๋ยวินโกลด์ 3 ส่วน ต่อ ปุ๋ยเคมี 1 ส่วน ในช่วงปีแรก)

2. ปุ๋ยวินโกลด์ผสมสารเพิ่มผลผลิตแร่ซิลิคอน
จากการวิจัยของนักวิจัยทางการเกษตรแผนใหม่ พบว่าธาตุอาหารสำหรับพืช นอกจาก N,P,K แล้วแร่ธาตุ
อาหารเสริมอื่นๆ เช่น แร่ซิลิคอน
เมื่อถูกน้ำแล้วจะแตกตัวเป็น 2H2O+SI+2O
ซึ่งสามารถให้ธาตุซิลิคอนแก่พืชได้สูงกว่า 5,667 p.p.m พืชสามารถนำไปใช้ได้ทันที เพราะเป็นสารสกัดจากลาวาภูเขาไฟที่ถูกแช่ในน้ำมานานกว่า 200 ปี ซึ่งนำมาผสมในปุ๋ยวินโกลด์ ทำให้มีธาตุอาหารเสริมที่จำเป็นแก่พืชกว่า 50 ชนิดที่แตกต่างจากปุ๋ยทั่วไป ที่สำคัญอย่างยิ่งในภาคการเกษตร ช่วยปรับสภาพดิน ปรับค่าความเป็นกรด/ด่างของดินให้เหมาะสมหากพื้นที่ใดขาดธาตุซิลิคอนแล้ว พืชที่ปลูกจะอ่อนแอต่อโรคแมลงและทำให้ผลผลิตลดลงถึงกว่าครึ่ง

คุณสมบัติเด่นเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ยวินโกลด์

1. ช่วยประหยัดปุ๋ยเคมี 50% และช่วยจับปุ๋ยไว้ได้นานขึ้นกว่าปกติ
2. ช่วยป้องกันแมลง - เชื้อรา โคน - รากเน่า และกำจัดหอยเชอรี่ได้ดีมาก
3. ปี ค.ศ. 1848 ผลทดลองซิลิคอนช่วยเพิ่มปริมาณ และคุณภาพของผลผลิต 50 - 100%
4. ผลการทดลองกว่า 300 อำเภอทั่วประเทศ ทำให้ช่วยปรับโครงสร้างของดิน - การชะล้างของดินจากลม
และน้ำ ช่วยเพิ่มน้ำหนักรากและเจริญของรากได้ 50 - 200%
5. ช่วยให้พืชทนแล้ง สามารถลดการให้น้ำได้ 30 - 40% โดยไม่มีผลเสียต่อพืช
6. ช่วยลดความเป็นพิษของอลูมิเนียมในดินกรดได้ดีกว่าปูนขาวหรือโคโลไมท์ 5 เท่า
7. ช่วยเพิ่มธาตุฟอสฟอรัสให้พืชได้ 40% โดยไม่ต้องใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส
8. ช่วยลดการชะล้างของ P,N และ K จากแหล่งเพาะปลูก และคงธาตุที่พืชนำไปใช้ได้
9. ช่วยให้สามารถใช้ประโยชน์จากชีวมูล (มูลสัตว์และของเหลือจากเทศบาล)
10.ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตในการกสิกรรมถึง 50 - 100%

(เม็ดปุ๋ยวินโกลด์)

ขั้นตอนการขยายงานปุ๋ย และการรับผลตอบแทน

1.
ปุ๋ย 1 ตันราคาขายปลีก 16,200 บาทราคาสมาชิก 13,200 บาท
ปุ๋ย 1 กระสอบ (25 ก.ก.)ราคาขายปลีก 405 บาทราคาสมาชิก  330  บาท
PV  100  คะแนนBV  500  คะแนน
BV  เป็นคะแนนเพื่อใช้ในการคำนวณค่าแนะนำและค่าบริการโมบายปุ๋ยเท่านั้น
2.เมื่อสมาชิกดำเนินการแจงคะแนนแล้วเสร็จ  ระบบจะทำการตรวจสอบความถูกต้อง  โดยสมาชิกจะต้องได้รับรหัส WM รหัส WC ครบถ้วน
3.
การรับผลประโยชน์สำหรับการแนะนำซื้อปุ๋ย
ผู้แนะนำต้องมีอย่างน้อยตำแหน่ง M

ผู้แนะนำจะได้รับ
-  ค่าผ่านรหัส WM (ถ้ามี)
PV  ละ  1 บาท (1 M รับ 100 บาท)
-  ค่าผ่านรหัส WC (ถ้ามี)
PV  ละ  0.50 บาท (1 M รับ 50 บาท)
-  ค่าแนะนำ
BV  ละ  1 บาท ตันละ 500 บาท
สั่งซื้อปุ๋ย 15 ตัน รับค่าสั่ง 7,500 บาท คืนทันที ภายใน 3 วันทำการ
รูปแบบการจ่ายผลตอบแทนเมื่อมีการสั่งซื้อปุ๋ยวินโกลด์ จำนวน 15 ตัน
สรุปผลตอบแทนที่จะได้รับ
ค่าแนะนำ (500บาทX15 ตัน)
7,500 บาท
ค่าสั่ง
7,500 บาท
ค่าจับคู่
8,500 บาท
ค่า WM
1,500 บาท
ค่า WC
750 บาท
กำไรจากการขายปลีก
45,000 บาท
รวมทั้งสิ้น
70,750 บาท
สรุปสั่งซื้อปุ๋ยวินโกลด์จำนวน 15 ตัน จะได้รับผลตอบแทน 70,750 บาท
เงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทน
1.
บริษัท จะโอนเงินค่าสั่งให้ภายใน 3 วันทำการ หลังการซื้อปุ๋ยวินโกลด์
2.
บริษัท จะคิดค่าคอมมิชชั่นการจับคู่ทุกวันหลังการตัดรอบ 5 โมงเย็น และจะโอนเงินค่าคอมมิชชั่นให้ภายใน 3 วันทำการ
3.
บริษัท จะคิดค่าแนะนำตัดรอบทุกวันที่ 30 ของเดือน และจะโอนเงินเข้าบัญชีให้ในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
































Winner Super 2

หัวเชื้อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตรชนิดน้ำทางใบ


 " Winner Super 2 อาหารเสริมชีวภาพของพืช "
หัวเชื้อ Winner Super 2 เพิ่มประสิทธิภาพ ทางการเกษตรชนิดน้ำทางใบเป็นธาตุอาหารพืชน้ำ สำหรับฉีดพ่นทางใบโดยการสกัดจากกลุ่มเชื้อจุลินทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ต่อพืชทุกชนิด เป็นกระบวนการสมัยใหม่ เพื่อพัฒนาให้เกษตรกรรู้จักใช้ปุ๋ยที่มีคุณภาพไม่เป็นอันตรายต่อดิน เกษตรกรและผู้บริโภค

คุณสมบัติพิเศษ ---> Winner Super 2
สามารถละลายน้ำได้ดี ไม่เกิดการตกตะกอนของธาตุอาหารต่างๆ จึงทำให้พืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อใช้ Winner Super 2 ต่อเนื่องจะช่วยเพิ่มสิ่งมีชีวิตในดิน ช่วยปรับปรุงบำรุงดิน สร้างความสมดุลทางธรรมชาติ เป็นผลให้พืชสามารถผสมเกสรได้ดี ไม่หลุดร่วง ติดตอกออกผล ทนทานต่อโรคและแมลงได้ดี พืชจึงเจริญงอกงามได้ในระยะเวลาอันสั้น
คุณประโยชน์ของ Winner Super 2
1.ช่วยทำให้พืชเจริญเติบโตเร็ว สมบูรณ์แข็งแรงยากต่อการเช้าทำลายของโรคและแมลง เมื่อใช้ต่อเนื่องเป็นประจำ จะช่วยลดปริมาณหนอน และแมลงศัตรูพืชลงไปได้มาก
2.ช่วยทำให้การออกดอกและติดผลเร็วขึ้น สามารถเก็บผลผลิตได้เร็วกว่าเดิมมาก
3.ช่วยเพิ่มจำนวนดอก ผล ขนาด คุณภาพสีและรสชาติของผลผลิต
4.ช่วยทำให้พืชฟื้นตัวได้เร็ว โดยเฉพาะพืชที่ปลูกใหม่ หรือพืชที่ยังเล็กอยู่
5. ช่วยป้องกัน และขจัดปัญหาโรคขาดธาตุอาหารของพืช
6.ช่วยร่นอายุการเก็บเกี่ยว ทำให้สามารถเก็บผลผลิตได้เร็วกว่าเดิม
7.ช่วยเพิ่มเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ด หรือท่อนพันธุ์ โดยใช้แช่หรือชุบก่อนปลูก
8.ช่วยในการปรับปรุงบำรุงดิน ทำให้ดินร่วนซุย
9.เมื่อใชhควบคู่กับปุ๋ยเดิมที่เคยใช้อยู่ จะช่วยประหยัดค่าปุ๋ยได้มาก และยังสามารถช่วยเพิ่มผลผลิตได้อย่างอัศจรรย์ โดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนในการผลิต

ราคาขาย 1,990 บาท  ราคาสมาชิก 1,490 บาท จำนวน 25 PV.
มาเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
E-mail : adoxy.658@gmail.com โทร 091-7080427

สมัครสมาชิกและสั่งซื้อผลิตภัณฑ์

ติดต่อสั่งซื้อได้ที่ คุณต้อม โทร 091-7080427

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น